โดย จงรักษ์ กิตติวรการ (ตี่)
ในสมัยมุโรมาจิ (คศ. ๑๓๓๖-๑๕๗๓) เป็นช่วงที่ญี่ปุ่นปกครองโดยโชก ุนตระกูลอาชิคางะ ไร่ชาอูจิที่มีคุณภาพดีเลิศ
ได้รับคัดเลือกให้เป็นชาสำหรับต ระกูลอาชิคางะมีอยู่ทั้งหมด ๗ แห่ง
ปัจจุบันเหลือเพียงแห่งเดียวที่ ยังคงผลิตชาอยู่ได้แก่ โอคุ โนะ ยามะ ปัจจุบัน ตระกูลโฮริอิ เป็นผู้จัดการดูแลการผลิตชา จึงได้คัดเลือกชาโบราณที่มีหลาย ชนิดพันธุ์จากไร่โอคุ
โนะ ยามะ
ท้ายที่สุดจึงได้คัดเอาชาพันธุ์หนึ่งขึ ้นมาเป็นชาที่ใช้สำหรับผลิตมัตจ ะโดยเฉพาะ
และได้ให้ชื่อสายพันธุ์นี้ว่า นาริโนะ
มัตจะที่ชื่อ
นาริโนะ นี้ จึงเป็นมัตจะที่ทำมาจากชาสายพัน ธุ์เดียว ปลูกในไร่เดียว คือ โอคุ โนะ ยามะ ซึ่งมัตจะชาที่ผลิตในปัจจุบัน แม้จะเป็นผู้ผลิตชาในอุจิ
แต่ก็มักเป็นชาที่เอาชาแหล่งอื่ นๆ มาผสมกับชาอุจิ
มัตจะที่เป็นชาอุจิล้วนๆ มีน้อยม าก และเป็นมัตจะที่มีราคาสูงเป็นพิ เศษ
นาริโนะ
เป็นชาที่ต้องระวังเรื่องอุณหภู มิของน้ำเป็นพิเศษ เหมาะกับการใช้น้ำร้อนที่ไม่เดื อดจัด
อุณหภูมิราว ๘๕-๙๐ องศาเซลเซียส ตีโดยไม่ต้องให้ขึ้นฟอง จะได้ชาที่มีความนุ่มนวล มีรสที่ซับซ้อน ไม่มีกลิ่นที่ฟุ้งจนโดดเด่น หากชาที่ทำโดยตระกูลคัมบายาชิ ที่มีบุคลิกเคร่งขรึม
เปรียบได้เป็นนักรบที่หนักแน่น และขรึมแล้ว
นาริโนะ ก็เป็นชาที่แสดงความเป็นชาวราชส ำนัก เมืองเฮอัน ที่ประณีต
พิถีพิถันโดยแท้
ได้รับคัดเลือกให้เป็นชาสำหรับต
ปัจจุบันเหลือเพียงแห่งเดียวที่
โนะ ยามะ
ท้ายที่สุดจึงได้คัดเอาชาพันธุ์หนึ่งขึ
และได้ให้ชื่อสายพันธุ์นี้ว่า นาริโนะ
มัตจะที่ชื่อ
นาริโนะ นี้ จึงเป็นมัตจะที่ทำมาจากชาสายพัน
แต่ก็มักเป็นชาที่เอาชาแหล่งอื่
มัตจะที่เป็นชาอุจิล้วนๆ มีน้อยม
นาริโนะ
เป็นชาที่ต้องระวังเรื่องอุณหภู
อุณหภูมิราว ๘๕-๙๐ องศาเซลเซียส ตีโดยไม่ต้องให้ขึ้นฟอง จะได้ชาที่มีความนุ่มนวล มีรสที่ซับซ้อน ไม่มีกลิ่นที่ฟุ้งจนโดดเด่น หากชาที่ทำโดยตระกูลคัมบายาชิ ที่มีบุคลิกเคร่งขรึม
เปรียบได้เป็นนักรบที่หนักแน่น และขรึมแล้ว
นาริโนะ ก็เป็นชาที่แสดงความเป็นชาวราชส
พิถีพิถันโดยแท้
No comments:
Post a Comment